สรุปความท้าทายสำคัญของผู้สูงอายุไทยใน "ยุคแก่ก่อนรวย"

สรุปความท้าทายสำคัญของผู้สูงอายุไทยใน “ยุคแก่ก่อนรวย”

สถานการณ์ “สังคมผู้สูงอายุ” ของประชากรไทยเข้มข้นขึ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อในปี 2566 ประเทศไทยมีผู้สูงอายุจำนวน 13.2 ล้านคน หรือคิดเป็น 1 ใน 5 ของคนทั้งประเทศ ทำให้ไทยก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ใช้เวลาไม่ถึง 20 ปีในการเลื่อนขั้นจาก Aging Society เป็น Aged Society ด้วยจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า นับว่าเร็วกว่าหลายๆ ประเทศอย่าง สิงคโปร์ จีน สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา

จำนวนผู้มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไปของไทย คิดเป็น 13.6% ของประชากรทั้งหมด ซึ่งองค์การสหประชาชาติ คาดว่าสัดส่วนดังกล่าว จะเพิ่มขึ้นจนมากกว่า 20% จะส่งผลให้ไทยก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุระดับสุดยอด (Super-aged Society) ในปี 2572 เป็นระดับสูงสุดของสังคมสูงวัย เช่นเดียวกับ ญี่ปุ่น เยอรมนี อิตาลี และฝรั่งเศส ประเทศพัฒนาแล้วที่มีรายได้สูง หรือเป็นประเทศที่ “แก่แต่รวย” ซึ่งตรงข้ามกับไทยที่มีแนวโน้มอยู่ในสถานการณ์ที่เรียกว่า “แก่ก่อนรวย”

ความรวดเร็วและความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมสูงวัยของประเทศไทย จึงกลายเป็นความท้าทายที่ต้องเร่งรับมือ เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

“วิจัยกรุงศรี” อธิบายเรื่องนี้ไว้อย่างน่าสนใจ โดยเฉพาะการสำรวจความท้าทายของผู้สูงอายุไทยในมิติต่างๆ

ด้านรายได้ของผู้สูงอายุ

รายได้เป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ จากการสำรวจ โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 25649 พบว่า ผู้สูงอายุไทยมีรายได้เฉลี่ยเพียงปีละ 87,136 บาท หรือเดือนละ 7,261 บาท (เฉลี่ยวันละ 242 บาท) ซึ่งน้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ นอกจากนี้ผู้สูงอายุเกินกว่าครึ่ง (56%) พึ่งพารายได้จากผู้อื่น เช่น บุตรหลานหรือคู่สมรสมากที่สุด ตามมาด้วยเบี้ยยังชีพจากภาครัฐ ส่วนผู้สูงอายุที่มีรายได้จากการทำงานมีเพียง 32%

การพึ่งพารายได้จากภายนอกเป็นหลัก จึงทำให้ผู้สูงอายุกว่า 40% เผชิญความไม่แน่นอนด้านความเพียงพอของรายได้ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสัดส่วนกลุ่มดังกล่าวสูงถึง 52% ในขณะที่ผู้สูงอายุทั่วประเทศที่มีรายได้เพียงพอจนเหลือเก็บมีไม่ถึง 5% เท่านั้น

บรรดาผู้สูงอายุที่มีการออม พบว่า กว่า 40% มีเงินออมไม่ถึง 50,000 บาท สอดคล้องกับการที่เงินออมดังกล่าวไม่สามารถเป็นแหล่งรายได้หลักของผู้สูงอายุส่วนใหญ่  ผู้สูงอายุเกือบครึ่งหนึ่งยังมีหนี้สินของตนเอง หรือหนี้สินของสมาชิกคนอื่นในครัวเรือน

 

ด้านการจ้างงานผู้สูงอายุ

การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรในปี 2565 สะท้อนให้เห็นถึงความท้าทายต่างๆ ในการจ้างงานผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุทำงานในภาคเกษตรกรรมมากถึง 2.8 ล้านคน คิดเป็น 60% ของผู้สูงอายุที่ยังทำงานทั้งหมด (4.7 ล้านคน) และคิดเป็นเกือบ 1 ใน 4 ของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทั้งหมด (12.4 ล้านคน) เเต่ลูกจ้างสูงอายุในภาคเกษตรกรรมกลับมีรายได้เฉลี่ยที่ต่ำที่สุด อยู่ที่เพียง 6,279 บาทต่อเดือน

สาขาอาชีพที่จ้างงานผู้สูงอายุรองลงมา คือ ค้าส่งและค้าปลีก ซึ่งจ้างงานผู้สูงอายุราว 6.7 แสนคน หรือ 14% ของแรงงานสูงอายุทั้งหมด แต่จ่ายค่าจ้างเฉลี่ย 9,560 บาทต่อเดือน ทำให้สาขาทั้งสองนี้อาจถูกมองว่าเป็นกลุ่ม “จ้างมาก – จ่ายน้อย”

สาขาอาชีพบริการทางการเงิน ไฟฟ้าและก๊าซ และการศึกษา แม้จะมีการจ้างงานผู้สูงอายุในจำนวนที่น้อยกว่า แต่จ่ายค่าตอบแทนให้สูง โดยมีเงินเดือนมากกว่าแรงงานอายุ 45-59 ปี

ความท้าทายด้านเงินออมและสวัสดิการภาครัฐ

ผู้สูงอายุสามารถมีรายได้จากสวัสดิการหรือระบบบำเหน็จบำนาญต่างๆ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

ระบบที่ผู้สูงอายุไม่ต้องสมทบเงินมาก่อน (Non-Contributory Scheme)  เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ซึ่งผู้มีอายุ 60 ปีขึ้นไปทุกคนมีสิทธิ์ได้รับ (ยกเว้นข้าราชการเกษียณ) ครอบคลุมผู้สูงอายุราว 10.9 ล้านคน ในปี 2565 ส่วนข้าราชการเกษียณอายุจำนวนประมาณ 8.5 แสนคน จะได้รับเงินบำเหน็จบำนาญ ซึ่งเป็นสวัสดิการเฉพาะข้าราชการ

ระบบที่ผู้สูงอายุต้องร่วมสมทบเงินมาก่อน (Contributory Scheme)

1) ระบบภาคบังคับ อาทิ กองทุนประกันสังคม มาตรา 33 สำหรับแรงงานในระบบที่มีนายจ้าง และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) เพื่อเพิ่มเติมเงินออมหลังเกษียณของข้าราชการ

2) ระบบภาคสมัครใจ อาทิ กองทุนประกันสังคม มาตรา 39 และมาตรา 40 สำหรับผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ไม่มีนายจ้าง กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) สำหรับแรงงานนอกระบบที่ไม่ได้เป็นสมาชิกกองทุนบำนาญที่สมทบโดยภาครัฐหรือนายจ้าง ทั้งนี้ ผู้สูงอายุที่ได้รับเงินบำเหน็จบำนาญจากกองทุนประกันสังคมทั้ง 3 มาตรา และ กอช. มีราว 8.7 แสนคน

ดังนั้น ผู้สูงอายุที่ยังไม่มีรายได้จากระบบบำเหน็จบำนาญที่ภาครัฐร่วมสมทบเงิน คือ ไม่อยู่ในระบบประกันสังคม ระบบบำนาญข้าราชการ หรือ กอช. เลย มีประมาณ 9.3 ล้านคน ในจำนวนนี้ มี 2.6 ล้านคน ที่ต้องพึ่งพาเบี้ยยังชีพ 600-1,000 บาทต่อเดือน จากภาครัฐเป็นหลัก นอกจากนี้ ผู้มีรายได้หลักจากเบี้ยยังชีพยังมีจำนวนมากกว่าผู้สูงวัยที่อาศัยรายได้หลักจากบำเหน็จ บำนาญ เงินออม หรือทรัพย์สิน กว่า 2 เท่า

สาเหตุทำให้ผู้สูงอายุจำนวนมากไม่มีเงินออมไว้เพื่อใช้จ่ายยามเกษียณ

ปัจจุบันยังไม่มีระบบบำเหน็จบำนาญภาคบังคับพื่อแรงงานนอกระบบ เช่น เกษตรกร ผู้รับจ้างอิสระ ผู้ประกอบอาชีพค้าขาย มีเพียงแต่ระบบภาคสมัครใจ (ระบบประกันสังคมมาตรา 39 40 และ กอช.) เท่านั้น ซึ่งยังไม่ได้รับความนิยมจากแรงงานนอกระบบมากเท่าที่ควร

ในปี 2566 จำนวนผู้มีงานทำที่อยู่นอกการคุ้มครองทางประกันสังคม มีราว 21 ล้านคน คิดเป็น 51.2% ของแรงงานทั้งประเทศ หมายความว่าแรงงานกว่าครึ่งหนึ่งมีความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับบำเหน็จบำนาญหลังเกษียณ เพราะไม่ได้ถูกบังคับให้ออมเงินขณะที่ยังทำงานอยู่

ความเพียงพอของรายได้จากระบบบำเหน็จบำนาญ 

ปัจจุบันมีเพียงกลุ่มข้าราชการเกษียณเท่านั้นที่ได้รับบำนาญในระดับที่เพียงพอแก่การดำรงชีพ เฉลี่ยที่ 26,000 ต่อเดือน ขณะที่ระบบอื่นยังจ่ายบำเหน็จบำนาญน้อยกว่าค่าจ้างขั้นต่ำ

แรงงานในระบบก็เผชิญความเสี่ยงจากเงินออมที่อาจไม่พอ

ปี 2566 แรงงานในระบบประกันสังคม มาตรา 33 จำนวน 12 ล้านคน แม้มีโอกาสได้เงินบำเหน็จบำนาญ 3,000 บาทต่อเดือนเมื่อเกษียณ แต่ลูกจ้าง 1 ใน 4 หรือ 3 ล้านคนเท่านั้นที่จะมีรายได้จากเงินออมในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund: PVD) ซึ่งเป็นสวัสดิการภาคสมัครใจที่นายจ้างร่วมสมทบเงินออมเพิ่มเติมจากลูกจ้างสะสมเงินเอง  ปัจจุบันร่างกฎหมาย กบช. ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาโดยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ระบบเงินออมที่ไม่ควรมองข้ามคือความยั่งยืนของระบบบำนาญไทย 

การลดลงของประชากรวัยแรงงาน อาจส่งผลให้กองทุนบำนาญต่างๆ ประสบปัญหาสภาพคล่อง แม้จะเป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้ในหลายประเทศ แต่หากเปรียบเทียบกับชาติอื่นๆ ไทยอยู่อันดับที่ 43 จาก 47 ประเทศ จากผลการจัดอันดับระบบบำนาญ (Global Pension Index 2023)

โดย Mercer และ CFA Institute สะท้อนว่า ระบบบำนาญไทยยังต้องได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น ขยายความครอบคลุมแรงงานทุกกลุ่ม เพิ่มอัตราการสมทบ และเพิ่มจำนวนเงินยังชีพขั้นต่ำ

ความท้าทายด้านสุขภาพ

ต้นทุนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเป็นความท้าทายทั้งระดับครัวเรือนและระดับประเทศ จากข้อมูลของประเทศญี่ปุ่น พบว่า ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของคนญี่ปุ่นจะเริ่มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วหลังจากอายุ 50 ปี และจะเร่งสูงขึ้นต่อเนื่องในช่วงอายุถัดๆ ไป เช่นเดียวกับในกรณีของไทย

การศึกษาของ TDRI พบว่า สัดส่วนค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคเบาหวานต่อรายได้จะเพิ่มเป็น 2 เท่าเมื่อผู้สูงวัยมีอายุเพิ่มขึ้น 10 ปี แต่หากผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวมากกว่า 1 โรค ภาระค่าใช้จ่ายจะยิ่งเร่งสูงขึ้น คือ ขณะที่ผู้สูงวัยมีอายุ 60-69 ปี ครัวเรือนจะเผชิญค่าใช้จ่ายราว 2% ของรายได้ แต่เมื่อมีอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป สัดส่วนค่าใช้จ่ายจะเพิ่มเป็น 14.5% หรือเพิ่มกว่า 7 เท่า

แล้วเงินในการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุมาจากแหล่งใด 

การสำรวจสิทธิการรักษาพยาบาลหลักของผู้สูงอายุ ปี 2564 พบว่า ผู้สูงอายุไทยอยู่ในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) มากที่สุดถึง 81.9% รองลงมาคือสวัสดิการข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 15% ส่วนผู้มีประกันสุขภาพส่วนบุคคลมีเพียง 0.3% เท่านั้น โดยในปี 2565 ผู้สูงอายุกว่า 10 ล้านคนใช้สิทธิบัตรทองเพื่อรับบริการผู้ป่วยนอกเฉลี่ยปีละ 6.3 ครั้ง หรือเกือบ 2 เท่าของค่าเฉลี่ยทุกช่วงวัย (3.5 ครั้ง) ซึ่งเป็นการรักษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases: NCDs) อาทิ ความดันโลหิต เบาหวาน มากที่สุด ทั้งนี้ การใช้ทรัพยากรด้านสาธารณสุขเพื่อดูแลผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วน 1 ใน 3 ของผู้ป่วยทั้งหมด โดยวัดจากจำนวนคนและจำนวนครั้งที่รับบริการ

ผู้สูงอายุเพิ่ม ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขของประเทศเพิ่มขึ้นตาม 

เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในหลายประเทศ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และญี่ปุ่น มีสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพต่อขนาดเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก มีสัดส่วนประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปเกิน 15% ของทั้งประเทศ ค่าใช้จ่ายที่สูงมาจากต้นทุนการดูแลผู้สูงอายุทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงต้นทุนการพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์

กรณีของไทย ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพคิดเป็น 4.4% ของ GDP ในปี 2563 แม้ยังไม่มากเมื่อเทียบกับสัดส่วนผู้สูงอายุและเมื่อเทียบกับประเทศอื่น แต่ก็มีทิศทางเพิ่มขึ้น ซึ่งธนาคารโลกคาดการณ์ว่ารายจ่ายสาธารณะด้านการดูแลสุขภาพ รวมกับรายจ่ายที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ อาทิ บำนาญข้าราชการ และเบี้ยยังชีพ จะมีสัดส่วนสูงถึง 11.5% ของ GDP ประเทศไทยในปี 2603 ต้นทุนดังมีแนวโน้มเร่งขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อไทยเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด

จากบทเรียนของญี่ปุ่นพบว่า ภายในเวลา 15 ปีหลังการก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด อัตราส่วนค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพต่อ GDP เพิ่มจาก 7.7% ในปี 2549 เป็น 10.9% ในปี 2563

ความท้าทายด้านการอยู่อาศัย

ผู้สูงอายุมีแนวโน้มอยู่ลำพังมากขึ้น และที่พักสำหรับผู้สูงอายุในปัจจุบันยังเน้นรองรับกลุ่มรายได้ปานกลางถึงสูง

ปัจจุบันที่พักสำหรับผู้สูงอายุยังไม่เพียงพอ และเน้นรองรับผู้มีรายได้ปานกลางถึงสูง สะท้อนจากการสำรวจ โดย ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Real Estate Information Center: REIC) ในปี 2566 พบว่า โครงการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุที่ไม่ต้องการหรือไม่สามารถอยู่บ้านเดิมของตนเอง รองรับผู้สูงอายุได้สูงสุด 19,490 คน ซึ่งคิดเป็นเพียง 1.2% ของจำนวนผู้สูงอายุที่อยู่ลำพังซึ่งอาจต้องการความช่วยเหลือ โครงการส่วนใหญ่เหมาะกับกลุ่มผู้มีฐานะปานกลางค่อนข้างดีและฐานะดีขึ้นไป อีกทั้งยังกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลถึงเกือบ 60%

ที่พักอาศัยที่มีจำนวนโครงการมากที่สุดคือ Nursing Home แต่อัตราการเข้าพักของโครงการรูปแบบนี้อยู่ที่เพียง 63.7% สาเหตุมาจากความไม่สอดคล้องของราคาและความสามารถในการจ่าย คือ เกือบ 80% ของ Nursing Home มีราคาอยู่ในช่วง 10,001-30,000 บาทต่อเดือน ส่วนโครงการที่ราคาไม่เกิน 10,000 บาทมีเพียง 1.5% เท่านั้น ซึ่งตรงข้ามกับผลสำรวจความยินดีที่จะจ่าย (Willingness to Pay) ค่าที่พักผู้สูงอายุที่พบว่า กว่า 22% ของผู้ตอบแบบสำรวจยินดีจ่ายไม่เกิน 10,000 บาท

ที่พักประเภทสถานสงเคราะห์หรือมูลนิธิ มีอัตราการเข้าพัก 100% และมีความหนาแน่นของผู้พักสูงที่สุดถึง 103 คนต่อโครงการ เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นโครงการที่ไม่มีค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายน้อย สะท้อนว่าที่พักประเภทดังกล่าวยังมีน้อยกว่าความต้องการ (Undersupply) ในขณะที่บ้านพักเฉพาะผู้สูงอายุ (Residential) เช่น สวางคนิเวศ สภากาชาดไทย บุศยานิเวศน์ และโครงการเวลเนสซิตี้ มีอัตราการเข้าพักสูงรองลงมาที่ 73% เนื่องจากบางโครงการได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ จึงมีราคาที่จับต้องได้มากขึ้น

กลุ่มผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยยังคงมีแนวโน้มขาดแคลนที่อยู่อาศัยอย่างมาก 

การสำรวจของ REIC ระบุว่าปัจจุบันที่อยู่อาศัยของภาครัฐบางแห่งมีผู้ลงชื่อรอขอเข้าอยู่อาศัยถึง 2,500-3,000 คน ซึ่งเมื่อเทียบกับความสามารถในการรองรับผู้สูงอายุ (Capacity) ของที่พักประเภทสถานสงเคราะห์หรือมูลนิธิทั้งหมดราว 2,700 คน อาจกล่าวได้ว่ายังมีความต้องการส่วนเกิน (Excess Demand) สำหรับที่อยู่อาศัยของภาครัฐอีกจำนวนมาก

ความท้าทายด้านเทคโนโลยีและการเงิน

ผู้สูงอายุมีทักษะและการเข้าถึงเทคโนโลยีและบริการทางการเงินดีขึ้น แต่ยังน้อยกว่าคนวัยอื่น

ชการสำรวจโดย สำนักงานสถิติแห่งชาติในปี 2566 พบว่า เกือบ 60% ของผู้สูงวัยในไทยเป็นผู้ใช้อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะกลุ่มสูงวัยตอนต้น (อายุ 60-69 ปี) ที่มีสัดส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเกินกว่า 70%

กว่า 1 ใน 4 ของผู้สูงอายุที่ยังไม่ใช้อินเทอร์เน็ต ให้เหตุผลว่าไม่มีความรู้หรือทักษะในการใช้  ไม่สนใจหรือไม่มีความจำเป็นที่จะใช้

ด้านการใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัล  แม้ 83% ของผู้สูงอายุจะใช้โทรศัพท์มือถือ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้สมาร์ทโฟน แต่ผู้สูงอายุ 8 ใน 10 คนยังพบปัญหาและอุปสรรคในการใช้งานอุปกรณ์ดิจิทัล

ด้านการเข้าถึงบริการทางการเงิน ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่เข้าไม่ถึงบริการทางการเงิน (Unserved) มากที่สุด ทั้งบริการเงินฝาก การโอน และการชำระเงิน จากความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบริการ และฐานะทางการเงินที่ไม่ดี นอกจากนี้ เมื่อทักษะด้านเทคโนโลยีกับข้อจำกัดด้านทักษะทางการเงิน จึงทำให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการทางการเงินในรูปแบบดิจิทัลได้น้อยกว่าคนวัยอื่นด้วย

ข้อมูลการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) พบว่า ผู้สูงอายุไทยยังทำธุรกรรมออนไลน์น้อยกว่าคนวัยอื่นมาก สิ้นปี 2564 มีผู้สูงอายุเพียง 17% ที่ใช้บริการการชำระเงินผ่านโทรศัพท์มือถือหรืออินเทอร์เน็ต (Mobile/Internet Payment) และสัดส่วนผู้ใช้งานไม่ได้เพิ่มขึ้นมากนักในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เมื่อเทียบกับกลุ่มอื่น  อีกทั้งผู้สูงอายุยังเป็นกลุ่มที่มีความถี่ของการใช้งาน e-Payment ต่ำที่สุด ในขณะที่กลุ่มอายุ 50-59 ปี ก็มีสัดส่วนผู้ใช้งานไม่ถึงครึ่ง

News Related
  • สู้ไม่ไหว! ByteDance ปิดบริษัทลูก Nuverse พร้อมปลดพนักงาน 1,000 คน

    Courtesy of ByteDance https://assets.beartai.com/uploads/speaker/post-1334883.mp3?cb=1701136108.mp3 สำนักข่าวนิกเกอิเอเชียรายงานโดยอ้างอิงแหล่งข่าวว่า ByteDance บริษัทแม่ของแพลตฟอร์มวิดีโอสั้นยอดนิยมอย่าง TikTok สั่งปลดพนักงานในแผนกเกมออกราว 1,000 คน พร้อมยกเลิกการพัฒนาเกมที่ยังไม่ได้เปิดตัวทั้งหมด และเตรียมขายเกมที่มีอยู่ในปัจจุบันให้บริษัทอื่นด้วย แหล่งข่าวเปิดเผยว่า ByteDance มองว่าธุรกิจเกมไม่ได้สำคัญมากนักและมีโอกาสที่จำกัดในการสร้างรายได้ บริษัทจึงเลือกที่จะทุ่มเทกับธุรกิจหลักมากกว่า เช่น TikTok แพลตฟอร์มวิดีโอสั้นที่พ่วงมากับอีคอมเมิร์ซ ซึ่งกำลังประสบความสำเร็จอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งนี้ ByteDance เคยมีความทะเยอทะยานอย่างมากกับธุรกิจเกม และต้องการต่อกรกับยักษ์ใหญ่อย่าง Tencent Holdings บริษัทเกมที่ใหญ่ที่สุดในโลกเมื่อพิจารณาจากรายได้ โดย ByteDance ได้ลงทุนอย่างจริงจังในธุรกิจเกมมาตั้งแต่ปี 2016 และในระหว่างปี 2019 ถึงปี 2022 พวกเขาทุ่มเงินมากถึง 4,200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 151,200 ล้านบาท เพื่อลงทุนในบริษัทเกมมากกว่า 19 แห่ง ความทะเยอทะยานของ ByteDance ค่อย ๆ ลดลงจากผลงานที่น่าผิดหวัง ...
    See Details: สู้ไม่ไหว! ByteDance ปิดบริษัทลูก Nuverse พร้อมปลดพนักงาน 1,000 คน
  • สุภโชคเยือนกิเลนฯ ! เจลีก เอเชีย ชาลเลนจ์ เผยโปรแกรมหวดทีมไทยลีก

    สุภโชค สารชาติ เจลีก ลีกฟุตบอลอาชีพแห่งประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผู้จัดการแข่งขัน เจลีก เอเชีย ชาลเลนจ์ 2023/24 ได้ประกาศโปรแกรมการแข่งขันในปีนี้ออกมาแล้ว สำหรับปีนี้จะใช้ชื่อเต็มว่า ไทยประกันชีวิต เจลีก เอเชีย ชาลเลนจ์ 2023/24 พาวเวอร์ดบาย เมจิ ยาสึดะ หลังได้ ไทยประกันชีวิต เข้ามาเป็นผู้สนับสนุนหลักอีกทั้งยังได้เซ็นข้อตกลงกับบริษัท นิคอน คอร์เปอเรชั่น ในฐานะ “บรอนซ์ พาร์ทเนอร์” ด้วย เจลีก เอเชีย ชาลเลนจ์ 2023/24 จะมี 4 ทีมเข้าร่วมการแข่งขันประกอบด้วย 2 ทีมไทยลีก เมืองทอง ยูไนเต็ด และ บีจี ปทุม ยูไนเต็ด ส่วนทีมจากเจลีก ประกอบด้วย ฮอกไกโด คอนซาโดเล่ ซัปโปโร และ เซเรโซ ...
    See Details: สุภโชคเยือนกิเลนฯ ! เจลีก เอเชีย ชาลเลนจ์ เผยโปรแกรมหวดทีมไทยลีก
  • ครม.ไฟเขียว 5 จังหวัด เปิดสถานบริการในโรงแรมได้ถึงตี 4

    ภาพประกอบข่าว ครม. เคาะกฎกระทรวงขยายเวลาให้สถานบริการที่ตั้งในโรงแรมถูกกฎหมาย สถานบริการที่ตั้งใน 5 จังหวัด คือ กรุงเทพฯ ภูเก็ต ชลบุรี เชียงใหม่ และเกาะสมุย ได้ถึง 4.00 น. วันที่ 28 พฤศจิกายน 2566 น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล เลขานุการ รมว.มหาดไทยและโฆษกกระทรวงมหาดไทย กล่าวว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันที่ 28 พ.ย. 2566 ได้อนุมัติร่างกฎกระทรวงกำหนดวันเวลาเปิดปิดของสถานบริการ (ฉบับที่….) พ.ศ… ตามที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ สาระสำคัญของร่างกฎกระทรวงฯ จะกำหนดให้สถานบริการที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ดังต่อไปนี้เปิดให้บริการได้ถึงเวลา 4.00 น. ของวันรุ่งขึ้นได้ ได้แก่ สถานบริการที่ตั้งที่อยู่ในสถานที่ตั้งโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม, สถานบริการที่ตั้งอยู่ในท้องที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดชลบุรี, จังหวัดเชียงใหม่ และท้องที่อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาพประกอบข่าว สำหรับท้องที่อื่นที่ประสงค์จะให้สถานบริการเปิดทำการได้ถึง 4.00 ...
    See Details: ครม.ไฟเขียว 5 จังหวัด เปิดสถานบริการในโรงแรมได้ถึงตี 4
  • อิสราเอลต้อนรับการมาเยือนของ Elon Musk หารือการใช้เน็ต Starlink ในฉนวนกาซา

    Elon_Musk_Plan_City_Cover https://assets.beartai.com/uploads/speaker/post-1334745.mp3?cb=1701136565.mp3 วันจันทร์ที่ 27 พฤศจิกายน อิสราเอลได้ต้อนรับการมาเยือนของ อีลอน มัสก์ (Elon Musk) ในระหว่างที่หยุดทำสงครามกับฮามาสเป็นการชั่วคราว ซึ่งได้บรรลุข้อตกลงในหลักการสำหรับการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียมสตาร์ลิงก์ (Starlink) ในฉนวนกาซา หลังจากมัสก์รับปากว่าจะให้การช่วยเหลือการเชื่อมต่อเน็ตในฉนวนกาซาผ่าน “องค์กรช่วยเหลือที่สากลยอมรับ” ในช่วงที่อิสราเอลเริ่มถล่มฉนวนกาซาอย่างหนักจนการสื่อสารถูกตัดขาดลง ช่วงบ่ายของวันจันทร์ ไอแซค เฮอร์ซอก (Isaac Herzog) ประธานาธิบดีของอิสราเอลมีกำหนดจะพูดคุยกับมัสก์ และพวกเขาจะเข้าร่วมพูดคุยกับญาติของตัวประกันที่ถูกกลุ่มฮามาสในฉนวนกาซาจับตัวไว้ เพื่อหาทางต่อสู้กับการต่อต้านชาวยิวที่เพิ่มขึ้นบนโลกออนไลน์ ในวันเดียวกัน เบนจามิน เนทันยาฮู (Benjamin Netanyahu) นายกรัฐมนตรีของอิสราเอล มีกำหนดหารือกับมัสก์เกี่ยวกับความปลอดภัยของเอไอ และจะมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันผ่านการถ่ายทอดสดออนไลน์ หลังจากทั้งสองพึ่งพบกันล่าสุดในแคลิฟอร์เนียเมื่อ 18 กันยายน เกี่ยวกับการต่อต้านชาวยิวบนแพลตฟอร์ม X และหาจุดสมดุลของเสรีภาพในการแสดงออก ปลายเดือนตุลาคม ช่วงที่มัสก์เผยว่าจะมอบเน็ตสตาร์ลิงก์ให้ใช้งานในฉนวนกาซา ชโลโม คาร์ฮี (Shlomo Karhi) กสทช. ของอิสราเอลได้แสดงความไม่เห็นด้วย เพราะมองว่ากลุ่มฮามาสจะนำเน็ตไปใช้ในการก่อการร้าย แต่การพูดคุยล่าสุดเน็ตสตาร์ลิงก์จะถูกใช้ในอิสราเอลเฉพาะเมื่อได้รับอนุมัติจากกระทรวงคมนาคมของอิสราเอล ซึ่งรวมถึงในฉนวนกาซาด้วย ...
    See Details: อิสราเอลต้อนรับการมาเยือนของ Elon Musk หารือการใช้เน็ต Starlink ในฉนวนกาซา
  • 'ไบท์แดนซ์' จ่อยุบธุรกิจเกม หลังแย่งส่วนแบ่งตลาดจาก 'เทนเซ็นต์' ไม่สำเร็จ

    ‘ไบท์แดนซ์’ จ่อยุบธุรกิจเกม หลังแย่งส่วนแบ่งตลาดจาก ‘เทนเซ็นต์’ ไม่สำเร็จ สำนักข่าวบลูมเบิร์กอ้างอิงแหล่งข่าวเผยว่า ไบท์แดนซ์ บริษัทแม่ติ๊กต็อกวางแผนปลดพนักงานฝ่ายเกมมิงและยุบธุรกิจพัฒนาเกมที่เป็นหน้าเป็นหน้าของบริษัทอย่าง Nuverse ถือเป็นการถอนตัวออกจากอุตสาหกรรมเกมครั้งใหญ่ ยกชัยชนะให้กับคู่แข่งอย่างเทนเซ็นต์ทันที แหล่งข่าวระบุว่า ไบท์แดนซ์ เตรียมปลดพนักงานหลายร้อยคน รวมทั้งยุบหลายโครงการที่กำลังพัฒนาและฉุดศักยภาพยอดขายของธุรกิจที่มีอยู่ ตามที่รอยเตอร์เคยรายงานหน้านี้ บริษัทยังพิจารณาขายเซี่ยงไฮ้ มูนตัน เทคโนโลยี สตูดิโอพัฒนาวิดีโอเกมชั้นนำที่ซื้อมาด้วยมูลค่า 4,000 ล้านดอลลาร์ (1.4 แสนบาท) เมื่อปี 2564 ด้วย การสร้างเกม ถือเป็นธุรกิจที่มีความไม่แน่นอนเป็นอย่างมาก โดยนับตั้งแต่ปีก่อน ไบท์แดนซ์เริ่มปิดสตูดิโอของตนเองและปลอดพนักงานฝ่ายพัฒนาหลายคน หลังเปลี่ยนไปโฟกัสธุรกิจหลักอย่างติ๊กต็อก แพลตฟอร์มวิดีโอสั้น ๆ และธุรกิจอีคอมเมิร์ซ และเดือนนี้ก็ปลดพนักงานเกือบ 1 ใน 4 ของฝ่ายพิโค (Pico) ธุรกิจอุปกรณ์โลกเสมือน ทั้งนี้ ความเคลื่อนไหวดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงที่ภาคธุรกิจเกมในโทรศัพท์มือถือของจีน ประสบปัญหาฟื้นธุรกิจให้ถึงจุดสูงสุดเหมือนช่วงโควิด-19 ในขณะที่เศรษฐกิจโลกชอละตัว ไบท์แดนซ์จึงค่อย ๆ ลดความทะเยอทะยานในอุตสาหกรรมเกม เมื่อไม่สามารถแย่งส่วนแบ่งตลาดจากเทนเซ็นต์ได้ ในทางกลับกันผู้นำอุตสาหกรรมเกมอย่างเทนเซ็นต์ ยังคงรักษาการเติบโตของธุรกิจได้อย่างยั่งยืน เพราะได้รับแรงหนุนจากเครดิตผู้นำอุตสาหกรรม ...
    See Details: 'ไบท์แดนซ์' จ่อยุบธุรกิจเกม หลังแย่งส่วนแบ่งตลาดจาก 'เทนเซ็นต์' ไม่สำเร็จ
  • TISCO ESU ฟันธง! เศรษฐกิจโลกปี 67 ชะลอตัว ชี้ ‘พันธบัตรโลก’ สร้างผลตอบแทน 8-15% ดีกว่าหุ้น

    ภาพประกอบข่าว TISCO ESU ฟันธง! เศรษฐกิจโลกปี 67 ชะลอตัว ชี้ ‘พันธบัตรโลก’ สร้างผลตอบแทน 8-15% ดีกว่าหุ้น เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจและกลยุทธ์ทิสโก้ (TISCO ESU) ชี้เศรษฐกิจโลกปี 2567 จะโตแบบชะลอตัวเมื่อเทียบกับปี 2566 ผลจากนโยบายการเงินที่เข้มงวดในรอบหลายทศวรรษ ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อและดอกเบี้ยยังทรงตัวในระดับสูง แต่ไม่เลวร้ายถึงขั้น “เศรษฐกิจถดถอย”  แนะลงทุนพันธบัตรเพิ่มโอกาสรับผลตอบแทน 8-15% ช่วยกระจายความเสี่ยงและลดผลขาดทุนของพอร์ตโดยรวม นายธรรมรัตน์ กิตติสิริพัฒน์ หัวหน้าฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจ ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจและกลยุทธ์ทิสโก้ (TISCO ESU) (Mr.Thammarat Kittisiripat, Head of Economic Unit, TISCO Economic Strategy Unit) เปิดเผยว่า เศรษฐกิจโลกในปี 2567 จะชะลอตัวลง อันเป็นผลจากนโยบายการเงินที่เข้มงวดที่สุดในรอบหลายทศวรรษที่จะส่งผลกดดันต่อกิจกรรมเศรษฐกิจอย่างชัดเจน ทั้งกิจกรรมด้านบริการและภาคการผลิต นอกจากนี้ ด้วยอัตราเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูงกว่ากรอบเป้าหมายของธนาคารกลางต่างๆ และมีแนวโน้มว่าจะปรับตัวลดลงอย่างช้าๆ ทำให้ TISCO ESU ประเมินว่า อัตราดอกเบี้ยทั่วโลกในปี 2567 จะยังคงอยู่ในระดับสูงอย่างต่อเนื่อง เพราะธนาคารกลางจะต้องควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ตามเป้าหมาย ทั้งนี้ แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวแต่ยังให้น้ำหนักไม่มาก ที่จะเข้าสู่ “ภาวะถดถอย” โดยหากอ้างอิงจากการคาดการณ์ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ที่มองว่าเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มที่ “พัฒนาแล้ว” จะชะลอตัวลงต่อเนื่อง ...
    See Details: TISCO ESU ฟันธง! เศรษฐกิจโลกปี 67 ชะลอตัว ชี้ ‘พันธบัตรโลก’ สร้างผลตอบแทน 8-15% ดีกว่าหุ้น
  • “นฤมล” ถกผู้ส่งออก-นำเข้าปศุสัตว์ -บริษัทส่งออกผลไม้ หวังดันไทย-จีน

    นางนฤมล ภิญโญสินวัฒน์  ผู้แทนการค้าไทย หารือผู้แทนสมาคมผู้ส่งออกและนำเข้าปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ไทย และตัวแทนบริษัทส่งออกผลไม้ไทย เพื่อร่วมมือผลักดันการส่งออกโคและผลไม้ไทยไปจีน ผู้แทนการค้ากล่าวว่า กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยเมื่อวานนี้ว่า การส่งออกเดือน ต.ค.2566 มีมูลค่า 23,578.8 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 8% เป็นบวกต่อเนื่อง 3 เดือนติดต่อกัน และสูงสุดในรอบ 13 เดือน นับจากเดือนก.ย.2565 ซึ่งการส่งออกที่เพิ่มขึ้น มาจากการเพิ่มขึ้นของสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 9.3% โดยสินค้าเกษตร เพิ่ม 12.3% และสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เพิ่ม 5.9% สินค้าสำคัญที่ขยายตัว เช่น ข้าว ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง อาหารสุนัขและแมว ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง สิ่งปรุงรสอาหาร ผักกระป๋องและผักแปรรูป ผู้แทนการค้ากล่าวว่า สินค้าเกษตรจึงเป็นโอกาสทางเศรษฐกิจของไทย จากการหารือกับสมาคมผู้ส่งออกฯ ที่ผ่านมาประเทศไทยติดปัญหาการส่งออกโคมีชีวิตไปยังประเทศจีน ซึ่งต้องให้ผ่านการรับรองจาก ...
    See Details: “นฤมล” ถกผู้ส่งออก-นำเข้าปศุสัตว์ -บริษัทส่งออกผลไม้ หวังดันไทย-จีน
  • มองหลากมุม “นโยบายเงินช่วยให้เปล่า” กับ การกระตุ้นเศรษฐกิจ

    หากนึกย้อนไปในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่า เศรษฐกิจทั่วโลกเจอผลกระทบรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปี จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หยุดชะงักลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ส่งผลให้อุปสงค์หายไปอย่างกระทันหัน (Demand Shock) และเป็นต้นตอที่นำไปสู่ผลกระทบทางเศรษฐกิจอื่นตามมา จึงทำให้เราเห็นมาตรการการคลังและการเงินมากหน้าหลายตาถูกงัดออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจขนานใหญ่ สอดคล้องกับ IMF ที่ประเมินว่าเม็ดเงินจากมาตรการสนับสนุนทางการคลัง (Fiscal Support) ที่ใช้ในปี 2020 รวมกันทั่วโลกอาจสูงถึง 9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 13% ของจีดีพี ซึ่งมากกว่าช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2009 ที่ใช้เม็ดเงินอัดฉีดไปเพียง 6.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือไม่ถึง 11% ของจีดีพี ณ ขณะนั้น “การอัดฉีดเงินเข้าภาคประชาชนโดยตรง” หรือ Helicopter Drop ก็เป็นหนึ่งในมาตรการยอดนิยมที่ 58 ประเทศทั่วโลกใช้ในวิกฤตระลอกล่าสุด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกว่าเมื่อเทียบกับการลดอัตราดอกเบี้ยหรือการซื้อสินทรัพย์ผ่านเครื่องมือทางการเงิน อีกทั้งยังไม่จำเป็นต้องส่งผ่านตัวกลางใด ๆ จึงทำให้เห็นผลลัพธ์ที่รวดเร็วกว่าเครื่องมือทางการคลังอื่น โดยเฉพาะกับประเทศที่มีความพร้อมด้าน Payment Ecosystem ที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงประเด็น อย่างไรก็ดี เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจรูปแบบดังกล่าวมักถูกใช้ในช่วงที่เกิดวิกฤตรุนแรงหรือช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อให้เกิดการจับจ่ายเป็นวงกว้างและนำไปสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจได้หลาย ...
    See Details: มองหลากมุม “นโยบายเงินช่วยให้เปล่า” กับ การกระตุ้นเศรษฐกิจ
  • กยศ. แจงปมนักศึกษาพยาบาลไม่ได้รับอนุมัติเงินกู้ ยันคุณสมบัติครบได้ทุกคน

    หากนึกย้อนไปในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่า เศรษฐกิจทั่วโลกเจอผลกระทบรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปี จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หยุดชะงักลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ส่งผลให้อุปสงค์หายไปอย่างกระทันหัน (Demand Shock) และเป็นต้นตอที่นำไปสู่ผลกระทบทางเศรษฐกิจอื่นตามมา จึงทำให้เราเห็นมาตรการการคลังและการเงินมากหน้าหลายตาถูกงัดออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจขนานใหญ่ สอดคล้องกับ IMF ที่ประเมินว่าเม็ดเงินจากมาตรการสนับสนุนทางการคลัง (Fiscal Support) ที่ใช้ในปี 2020 รวมกันทั่วโลกอาจสูงถึง 9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 13% ของจีดีพี ซึ่งมากกว่าช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2009 ที่ใช้เม็ดเงินอัดฉีดไปเพียง 6.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือไม่ถึง 11% ของจีดีพี ณ ขณะนั้น “การอัดฉีดเงินเข้าภาคประชาชนโดยตรง” หรือ Helicopter Drop ก็เป็นหนึ่งในมาตรการยอดนิยมที่ 58 ประเทศทั่วโลกใช้ในวิกฤตระลอกล่าสุด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกว่าเมื่อเทียบกับการลดอัตราดอกเบี้ยหรือการซื้อสินทรัพย์ผ่านเครื่องมือทางการเงิน อีกทั้งยังไม่จำเป็นต้องส่งผ่านตัวกลางใด ๆ จึงทำให้เห็นผลลัพธ์ที่รวดเร็วกว่าเครื่องมือทางการคลังอื่น โดยเฉพาะกับประเทศที่มีความพร้อมด้าน Payment Ecosystem ที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงประเด็น อย่างไรก็ดี เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจรูปแบบดังกล่าวมักถูกใช้ในช่วงที่เกิดวิกฤตรุนแรงหรือช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อให้เกิดการจับจ่ายเป็นวงกว้างและนำไปสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจได้หลาย ...
    See Details: กยศ. แจงปมนักศึกษาพยาบาลไม่ได้รับอนุมัติเงินกู้ ยันคุณสมบัติครบได้ทุกคน
  • น้ำผึ้ง ณัฐริกา สูญเสียครั้งใหญ่จนเป็นซึมเศร้า เคยไปดูศพเพื่อปลง (คลิป)

    หากนึกย้อนไปในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่า เศรษฐกิจทั่วโลกเจอผลกระทบรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปี จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หยุดชะงักลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ส่งผลให้อุปสงค์หายไปอย่างกระทันหัน (Demand Shock) และเป็นต้นตอที่นำไปสู่ผลกระทบทางเศรษฐกิจอื่นตามมา จึงทำให้เราเห็นมาตรการการคลังและการเงินมากหน้าหลายตาถูกงัดออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจขนานใหญ่ สอดคล้องกับ IMF ที่ประเมินว่าเม็ดเงินจากมาตรการสนับสนุนทางการคลัง (Fiscal Support) ที่ใช้ในปี 2020 รวมกันทั่วโลกอาจสูงถึง 9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 13% ของจีดีพี ซึ่งมากกว่าช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2009 ที่ใช้เม็ดเงินอัดฉีดไปเพียง 6.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือไม่ถึง 11% ของจีดีพี ณ ขณะนั้น “การอัดฉีดเงินเข้าภาคประชาชนโดยตรง” หรือ Helicopter Drop ก็เป็นหนึ่งในมาตรการยอดนิยมที่ 58 ประเทศทั่วโลกใช้ในวิกฤตระลอกล่าสุด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกว่าเมื่อเทียบกับการลดอัตราดอกเบี้ยหรือการซื้อสินทรัพย์ผ่านเครื่องมือทางการเงิน อีกทั้งยังไม่จำเป็นต้องส่งผ่านตัวกลางใด ๆ จึงทำให้เห็นผลลัพธ์ที่รวดเร็วกว่าเครื่องมือทางการคลังอื่น โดยเฉพาะกับประเทศที่มีความพร้อมด้าน Payment Ecosystem ที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงประเด็น อย่างไรก็ดี เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจรูปแบบดังกล่าวมักถูกใช้ในช่วงที่เกิดวิกฤตรุนแรงหรือช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อให้เกิดการจับจ่ายเป็นวงกว้างและนำไปสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจได้หลาย ...
    See Details: น้ำผึ้ง ณัฐริกา สูญเสียครั้งใหญ่จนเป็นซึมเศร้า เคยไปดูศพเพื่อปลง (คลิป)
  • เขินมาก”พัคมินยอง-คิมแจอุค”อวดโมเมนต์ชวนจิ้นผ่านไขหัวใจยัยแฟนเกิร์ล

    หากนึกย้อนไปในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่า เศรษฐกิจทั่วโลกเจอผลกระทบรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปี จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หยุดชะงักลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ส่งผลให้อุปสงค์หายไปอย่างกระทันหัน (Demand Shock) และเป็นต้นตอที่นำไปสู่ผลกระทบทางเศรษฐกิจอื่นตามมา จึงทำให้เราเห็นมาตรการการคลังและการเงินมากหน้าหลายตาถูกงัดออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจขนานใหญ่ สอดคล้องกับ IMF ที่ประเมินว่าเม็ดเงินจากมาตรการสนับสนุนทางการคลัง (Fiscal Support) ที่ใช้ในปี 2020 รวมกันทั่วโลกอาจสูงถึง 9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 13% ของจีดีพี ซึ่งมากกว่าช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2009 ที่ใช้เม็ดเงินอัดฉีดไปเพียง 6.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือไม่ถึง 11% ของจีดีพี ณ ขณะนั้น “การอัดฉีดเงินเข้าภาคประชาชนโดยตรง” หรือ Helicopter Drop ก็เป็นหนึ่งในมาตรการยอดนิยมที่ 58 ประเทศทั่วโลกใช้ในวิกฤตระลอกล่าสุด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกว่าเมื่อเทียบกับการลดอัตราดอกเบี้ยหรือการซื้อสินทรัพย์ผ่านเครื่องมือทางการเงิน อีกทั้งยังไม่จำเป็นต้องส่งผ่านตัวกลางใด ๆ จึงทำให้เห็นผลลัพธ์ที่รวดเร็วกว่าเครื่องมือทางการคลังอื่น โดยเฉพาะกับประเทศที่มีความพร้อมด้าน Payment Ecosystem ที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงประเด็น อย่างไรก็ดี เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจรูปแบบดังกล่าวมักถูกใช้ในช่วงที่เกิดวิกฤตรุนแรงหรือช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อให้เกิดการจับจ่ายเป็นวงกว้างและนำไปสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจได้หลาย ...
    See Details: เขินมาก”พัคมินยอง-คิมแจอุค”อวดโมเมนต์ชวนจิ้นผ่านไขหัวใจยัยแฟนเกิร์ล
  • กวาง ขายเรือนหอ 16 ล้านได้แล้ว ขอบคุณที่ให้บทเรียนดีๆ ‘น้ำหวาน’ โผล่เมนต์ลา

    หากนึกย้อนไปในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่า เศรษฐกิจทั่วโลกเจอผลกระทบรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปี จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หยุดชะงักลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ส่งผลให้อุปสงค์หายไปอย่างกระทันหัน (Demand Shock) และเป็นต้นตอที่นำไปสู่ผลกระทบทางเศรษฐกิจอื่นตามมา จึงทำให้เราเห็นมาตรการการคลังและการเงินมากหน้าหลายตาถูกงัดออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจขนานใหญ่ สอดคล้องกับ IMF ที่ประเมินว่าเม็ดเงินจากมาตรการสนับสนุนทางการคลัง (Fiscal Support) ที่ใช้ในปี 2020 รวมกันทั่วโลกอาจสูงถึง 9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 13% ของจีดีพี ซึ่งมากกว่าช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2009 ที่ใช้เม็ดเงินอัดฉีดไปเพียง 6.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือไม่ถึง 11% ของจีดีพี ณ ขณะนั้น “การอัดฉีดเงินเข้าภาคประชาชนโดยตรง” หรือ Helicopter Drop ก็เป็นหนึ่งในมาตรการยอดนิยมที่ 58 ประเทศทั่วโลกใช้ในวิกฤตระลอกล่าสุด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกว่าเมื่อเทียบกับการลดอัตราดอกเบี้ยหรือการซื้อสินทรัพย์ผ่านเครื่องมือทางการเงิน อีกทั้งยังไม่จำเป็นต้องส่งผ่านตัวกลางใด ๆ จึงทำให้เห็นผลลัพธ์ที่รวดเร็วกว่าเครื่องมือทางการคลังอื่น โดยเฉพาะกับประเทศที่มีความพร้อมด้าน Payment Ecosystem ที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงประเด็น อย่างไรก็ดี เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจรูปแบบดังกล่าวมักถูกใช้ในช่วงที่เกิดวิกฤตรุนแรงหรือช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อให้เกิดการจับจ่ายเป็นวงกว้างและนำไปสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจได้หลาย ...
    See Details: กวาง ขายเรือนหอ 16 ล้านได้แล้ว ขอบคุณที่ให้บทเรียนดีๆ ‘น้ำหวาน’ โผล่เมนต์ลา
  • SHARGE เปลี่ยนชื่อแบรนด์ ตอกย้ำเบอร์ 1 ธุรกิจ EV Charger ครบวงจร

    หากนึกย้อนไปในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่า เศรษฐกิจทั่วโลกเจอผลกระทบรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปี จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หยุดชะงักลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ส่งผลให้อุปสงค์หายไปอย่างกระทันหัน (Demand Shock) และเป็นต้นตอที่นำไปสู่ผลกระทบทางเศรษฐกิจอื่นตามมา จึงทำให้เราเห็นมาตรการการคลังและการเงินมากหน้าหลายตาถูกงัดออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจขนานใหญ่ สอดคล้องกับ IMF ที่ประเมินว่าเม็ดเงินจากมาตรการสนับสนุนทางการคลัง (Fiscal Support) ที่ใช้ในปี 2020 รวมกันทั่วโลกอาจสูงถึง 9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 13% ของจีดีพี ซึ่งมากกว่าช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2009 ที่ใช้เม็ดเงินอัดฉีดไปเพียง 6.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือไม่ถึง 11% ของจีดีพี ณ ขณะนั้น “การอัดฉีดเงินเข้าภาคประชาชนโดยตรง” หรือ Helicopter Drop ก็เป็นหนึ่งในมาตรการยอดนิยมที่ 58 ประเทศทั่วโลกใช้ในวิกฤตระลอกล่าสุด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกว่าเมื่อเทียบกับการลดอัตราดอกเบี้ยหรือการซื้อสินทรัพย์ผ่านเครื่องมือทางการเงิน อีกทั้งยังไม่จำเป็นต้องส่งผ่านตัวกลางใด ๆ จึงทำให้เห็นผลลัพธ์ที่รวดเร็วกว่าเครื่องมือทางการคลังอื่น โดยเฉพาะกับประเทศที่มีความพร้อมด้าน Payment Ecosystem ที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงประเด็น อย่างไรก็ดี เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจรูปแบบดังกล่าวมักถูกใช้ในช่วงที่เกิดวิกฤตรุนแรงหรือช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อให้เกิดการจับจ่ายเป็นวงกว้างและนำไปสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจได้หลาย ...
    See Details: SHARGE เปลี่ยนชื่อแบรนด์ ตอกย้ำเบอร์ 1 ธุรกิจ EV Charger ครบวงจร
  • สภาการพยาบาลออกประกาศ ห้ามให้ยาแก้ปวด Diclofenac ชนิดฉีด

    หากนึกย้อนไปในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 ปฏิเสธไม่ได้ว่า เศรษฐกิจทั่วโลกเจอผลกระทบรุนแรงที่สุดในรอบหลายสิบปี จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หยุดชะงักลงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ส่งผลให้อุปสงค์หายไปอย่างกระทันหัน (Demand Shock) และเป็นต้นตอที่นำไปสู่ผลกระทบทางเศรษฐกิจอื่นตามมา จึงทำให้เราเห็นมาตรการการคลังและการเงินมากหน้าหลายตาถูกงัดออกมาใช้เพื่อพยุงเศรษฐกิจขนานใหญ่ สอดคล้องกับ IMF ที่ประเมินว่าเม็ดเงินจากมาตรการสนับสนุนทางการคลัง (Fiscal Support) ที่ใช้ในปี 2020 รวมกันทั่วโลกอาจสูงถึง 9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 13% ของจีดีพี ซึ่งมากกว่าช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2009 ที่ใช้เม็ดเงินอัดฉีดไปเพียง 6.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือไม่ถึง 11% ของจีดีพี ณ ขณะนั้น “การอัดฉีดเงินเข้าภาคประชาชนโดยตรง” หรือ Helicopter Drop ก็เป็นหนึ่งในมาตรการยอดนิยมที่ 58 ประเทศทั่วโลกใช้ในวิกฤตระลอกล่าสุด ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกว่าเมื่อเทียบกับการลดอัตราดอกเบี้ยหรือการซื้อสินทรัพย์ผ่านเครื่องมือทางการเงิน อีกทั้งยังไม่จำเป็นต้องส่งผ่านตัวกลางใด ๆ จึงทำให้เห็นผลลัพธ์ที่รวดเร็วกว่าเครื่องมือทางการคลังอื่น โดยเฉพาะกับประเทศที่มีความพร้อมด้าน Payment Ecosystem ที่จะสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้แบบตรงประเด็น อย่างไรก็ดี เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจรูปแบบดังกล่าวมักถูกใช้ในช่วงที่เกิดวิกฤตรุนแรงหรือช่วงที่เศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะถดถอย เพื่อให้เกิดการจับจ่ายเป็นวงกว้างและนำไปสู่การหมุนเวียนทางเศรษฐกิจได้หลาย ...
    See Details: สภาการพยาบาลออกประกาศ ห้ามให้ยาแก้ปวด Diclofenac ชนิดฉีด

OTHER NEWS

ถ้าไม่ไหวไปที่อื่น ! ไข่มุกหลงกล้อง-ทศกัณฐ์เดดแอร์ ศึกแข่งผู้ประกาศข่าวสุดเดือด!

ถ้าไม่ไหวไปที่อื่น ! ไข่มุกหลงกล้อง-ทศกัณฐ์เดดแอร์ ศึกแข่งผู้ประกาศข่าวสุดเดือด! รอบ Real Chance กับโจทย์ผู้ประกาศข่าวเที่ยงอมรินทร์ เดือดสุด !! เพราะเป็นรอบที่น้องๆ ทีมสีส้ม “ไข่มุก-ชาโอม-จอย” และทีมสีม่วง “ฟิว-ทศกัณฐ์-ปอนด์” ต้องมานั่งโต๊ะเป็นผู้ประกาศข่าวจริงๆ รอบ Real Chance กับโจทย์ผู้ประกาศข่าวเที่ยงอมรินทร์ ใน THE REAL NEXT GEN อมรินทร์เน็กซ์เจน Presented By est cola รายการเรียลลิตี้ ... Read more »

นายกฯ เผย ครม.เคาะขึ้นเงินเดือน ขรก.แล้ว รอฟังโฆษกแถลงได้เลย

ภาพประกอบข่าว นายกฯ เผย ครม.พิจารณาวาระขึ้นเงินเดือนแล้ว ให้โฆษก รบ.แถลง พร้อมเรียก รมต.เพื่อไทยถกต่อ เมื่อเวลา 10.30 น. วันที่ 28 พฤศจิกายน ที่ทำเนียบรัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ให้สัมภาษณ์เพียงสั้นๆ ภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ว่า ในวันนี้ที่ประชุม ครม.ได้มีการพิจารณาวาระการขึ้นเงินเดือนข้าราชการ ซึ่งมอบหมายให้โฆษกประจำสำนักนายกฯเป็นผู้แถลง ผู้สื่อข่าวรายงานจากทำเนียบรัฐบาลว่า ภายหลังนายกฯเป็นประธานการประชุม ครม.ชุดใหญ่แล้ว นายกฯได้เชิญรัฐมนตรีในส่วนของพรรคเพื่อไทย (พท.) ... Read more »

ศาลสั่งจำคุก 6 เดือน ‘เด่นนาโพธิ์’ ตะลึงว่าจ้างตัวเอง ‘ล้มมวย’!

ภาพประกอบข่าว ศาลสั่งจำคุก 6 เดือน ‘เด่นนาโพธิ์’ ตะลึงว่าจ้างตัวเอง ‘ล้มมวย’! จากรกรณีที่ เด่นนาโพธิ์ ส.ธัญญาลักษณ์ นักมวยไทย ขึ้นชกกับ ก้องนภา ศรีมงคล เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2565 ที่เวทีมวยวัดบ้านตากลาง ต.กระโพ อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ โดยการชกครั้งนี้ เด่นนาโพธิ์ แพ้น็อกไปอย่างกังขาในยกที่ 3 ทั้งที่ เด่นนาโพธิ์ เป็นฝ่ายฟันศอก ก้องนภา ... Read more »

พีพี วอนแฟนคลับไม่รุกล้ำเวลาส่วนตัว อยากเจอกันแบบสบายใจ

พีพี วอนแฟนคลับไม่รุกล้ำเวลาส่วนตัว อยากเจอกันแบบสบายใจ ก่อนแง้มข่าวดีกลางปีหน้า แม้ว่าก่อนหน้านี้ บริษัท PP Krit Entertainment ของศิลปินนักแสดงชื่อดัง พีพี กฤษฏ์ อำนวยเดชกร ได้ออกหนังสือชี้แจงมาตรการด้านความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของศิลปิน หลังมีบุคคลบางกลุ่มพยายามละเมิดความเป็นส่วนตัว แต่ดูเหมือนว่ายังคงมีหลายคนที่ไม่ปฏิบัติตามกฎดังกล่าว จนเป็นเหตุให้คนใกล้ชิดต้องออกมาพูดเตือนสติเรื่องนี้อีกครั้งผ่านทางโซเชียล ล่าสุดเจอ พีพี ในงาน centralwOrld Light Up Christmas Tree Celebration ที่ ลานสแควร์A หน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เจ้าตัวให้สัมภาษณ์ถึงประเด็นนี้ว่า ... Read more »

สมยศ เผยเซ็นสัญญา"อิชิอิ"คุมบอลไทยระยะสั้นแค่ช่วงวาระชุดบริหารปัจจุบัน

สมยศ เผยเซ็นสัญญา”อิชิอิ”คุมบอลไทยระยะสั้นแค่ช่วงวาระชุดบริหารปัจจุบัน จากกรณี “มาดามแป้ง”นวลพรรณ ล่ำซำ ผู้จัดการทีมฟุตบอลชายทีมชาติไทย ประกาศอย่างเป็นทางการแยกทาง มาโน่ โพลกิ้ง จากหัวหน้าผู้ฝึกสอน หลังผลงานคัดบอลโลก 2 นัดแรกไม่เป็นไปตามเป้าหมาย โดยตั้ง มาซาทาดะ อิชิอิ โค้ชชาวญี่ปุ่น อดีตกุนซือ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด มารับตำแหน่งหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนใหม่ แทนทันที ล่าสุด “บิ๊กอ๊อด” พล.ต.อ.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง นายกสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ได้เผยว่าเรื่องการเลือกโค้ช เราให้เกียรติซึ่งกันและกัน มาดามแป้ง ... Read more »

ปุ้ย TPN อัปเดต มิสยูนิเวิร์ส 2023 หลังรัฐบาลนิการากัว สั่งห้ามเข้าประเทศ

หลังจากจบการประกวด Miss Universe 2023 แต่งานนี้ก็ยังมีเรื่องให้ ปุ้ย ปิยาภรณ์ หรือที่แฟนนางงามรู้จักในชื่อ ปุ้ย TPN ต้องมาชี้แจงหลายประเด็นที่เกิดขึ้น ทั้งเรื่องที่ Miss Universe คนล่าสุดเข้าประเทศไม่ได้ หรือประเด็นที่บริษัท TCG จะฟ้อง JKN ซึ่ง JKN เป็นบริษัทแม่ และ TPN เป็นบริษัทลูก จะโดนร่างแหไปด้วยหรือไม่ งานนี้เจ้าตัวก็ได้ตอบแบบเคลียร์ว่า “ข่าวที่ว่ามิสยูนิเวิร์สเขาเข้าประเทศไม่ได้น่ะเหรอ นี่ก็ได้คุยกับ ND ... Read more »

เจ้าหน้าที่คุมประพฤติซิ่งแจ๊ซเมาพุ่งชนคู่กรณีจนรถพลิกคว่ำ

เจ้าหน้าที่คุมประพฤติซิ่งแจ๊ซเมาพุ่งชนคู่กรณีจนรถพลิกคว่ำ เจ้าหน้าที่คุมประพฤติซิ่งรถแจ๊ซเมาหนักเดินเซขึ้นรถตำรวจ หลังจากพยายามขับรถพุ่งชนคู่กรณีจนรถพลิกคว่ำ แถมไม่สลดในมือยังถือกระป๋องเบียร์ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2566 เวลา 10.00 น. ตำรวจ สน.ท่าพระ รับแจ้งมีอุบัติเหตุรถยนต์ เฉี่ยวชนกันจนเกิดพลิกคว่ำ บริเวณอุโมงค์ท่าพระ มุ่งหน้าจาก ถนน จรัญสนิทวงศ์ มุ่งหน้าถนน รัชดาท่าพระ จึงรีบรุดจัดกำลังพร้อมประสานอาสาสมัครมูลนิธิป่อเต็กตึ๊งเร่งรัดตรวจสอบที่เกิดเหตุทันที จุดเกิดเหตุอยู่บริเวณเชิงลาดขาลงทางลอดอุโมงข้ามแยกใต้แยกท่าพระ ทิศทางมุ่งหน้ามาจากถนนจรัญสนิทวงศ์ มุ่งหน้าไปทางถนน รัชดาท่าพระ แขวง วัดท่าพระ เขต บางกอกใหญ่ ... Read more »
Top List in the World